“การเรียนรู้แบบ Active Learning ทำให้กล้า ตั้งคำถาม ไม่ได้เชื่อทั้งหมดที่ครูสอนเรา และการจะเปลี่ยนห้องเรียน Active Learning เริ่มจากที่ครูและนักเรียนเปิดใจ สร้างพลังการเรียนรู้ร่วมกันในความรู้ใหม่ ๆ” วรรณภา อยู่คง (แอ่ม) ชั้นปีที่ 3 การประถมศึกษา
นางสาววรรณภา อยู่คง (แอ๋ม) นักศึกษาทุนครูรัก(ษ์)ถิ่น ...เล่าย้อนถึงครั้งเมื่อเธอยังเด็ก ที่ทำให้ปัจจุบันคนไม่กล้าตั้งคำถาม แม้ว่าจะเกิดความสงสัยอยากรู้ เพราะประสบการณ์ในช่วงวัยเด็กมักจะถูกดุและต่อว่าเมื่อเธอตั้งคำถาม แต่ในการมาอบรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ครั้งนี้ ทำให้เธอกล้าที่จะตั้งคำถาม มากขึ้น ความกลัวของเธอลดลงไปมาก และเมื่อเธอกลับไปเป็นครูจะออกแบบการเรียนรู้ที่ทำให้นักเรียนเป็น “นักตั้งคำถาม”
ที่มา : I AM KRU สังคมสร้างสรรค์ของคนสอน
โปรแกรมวิชาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์. (2565). “การเรียนรู้แบบ Active Learning ทำให้กล้า ตั้งคำถาม ไม่ได้เชื่อทั้งหมดที่ครูสอนเรา และการจะเปลี่ยนห้องเรียน Active Learning เริ่มจากที่ครูและนักเรียนเปิดใจ สร้างพลังการเรียนรู้ร่วมกันในความรู้ใหม่ ๆ” วรรณภา อยู่คง (แอ่ม) ชั้นปีที่ 3 การประถมศึกษา. สืบค้น 3 กรกฎาคม 2565, จาก https://elementary.kpru.ac.th/?page_id=303&lang=TH
ข้อมูลอื่น ๆ
คู่มือ PDPA สำหรับประชาชน "กฏหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล" สิ่งสำคัญใกล้ตัวที่คุณครู...ต้องรู้
เผยแพร่เมื่อ 29 มิถุนายน 2565
“การขยายผลกับนักศึกษาหลังจากเข้าร่วมอบรม Active Learning ต้องทำอย่างต่อเนื่องและนำไปใช้จริงที่โรงเรียนปลายทาง ในเบื้องต้นเร่ิมจากตามความถนัดของนักศึกษาและอาจารย์ร่วมติดตาม นิเทศก์การสอน” ดร.ยุทธนา พันธ์มี อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาการประถมศึกษา
เผยแพร่เมื่อ 15 มิถุนายน 2565
ผลงานวิจัยและบทความวิชาการ เรื่อง การศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนและเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริม การคิดเชิงระบบของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียนขนาดเล็ก
เผยแพร่เมื่อ 15 มิถุนายน 2565
ประกาศฯ การให้ทุนอุดหนุนงานวิจัยของคณะครุศาสตร์ เรื่อง "การพัฒนาคู่มือการอบรมการวิจัยในชั้นเรียนประยุกเทคใช้เทคนิค GPAS 5 Steps ของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน"
เผยแพร่เมื่อ 14 มิถุนายน 2565