“การเรียน Active Learning ได้มากกว่าความรู้ และประสบการณ์ที่ฝังลึก เป็นทักษะของเราได้” ชยพล โคโรจวง (โย) ชั้นปีที่ 3 การประถมศึกษา
...นายชยพล โคโรจวง (โย) นักศึกษาปี 3 ...เล่าถึงประสบการณ์ในการการอบรมฯ ครั้งนี้ มีความต่างไปจากห้องเรียนแบบเดิมที่เคยจดตามครูบอกหรือนั่งฟังครูอธิบาย แต่สำหรับห้องเรียน Active Learning ครูจะทำหน้าที่ดูแลอำนวยความสะดวกให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้หรือเหมือนกับโค้ช นักเรียนได้ปฏิบัติ ลงมือทำ และทำให้ความเข้าใจเดิมในการสอน Active Learning ที่เป็นการเคลื่อนไหว หรือเดินไปรอบ ๆ ห้อง แต่การมาอบรมฯ ครั้งนี้ทำให้เกิดความเข้าใจใหม่เกี่ยวกับการออกแบบการสอน Active Learning ต้องทำให้นักเรียนได้ใช้ความคิด ใช้ร่างกายส่วนต่าง ๆ ของร่างการในการทำกิจกรรมในการเรียนรู้ ซึ่งพอนักเรียนได้ลงมือทำ ได้มีประสบการณ์ เป็นการเรียนรู้ที่จะทำให้ได้มากกว่าความรู้ แต่เกิดประสบการณ์ที่ฝังลึก และเกิดทักษะได้
ที่มา : I AM KRU สังคมสร้างสรรค์ของคนสอน
โปรแกรมวิชาการประถมศึกษา คณะครุศาสตร์. (2565). “การเรียน Active Learning ได้มากกว่าความรู้ และประสบการณ์ที่ฝังลึก เป็นทักษะของเราได้” ชยพล โคโรจวง (โย) ชั้นปีที่ 3 การประถมศึกษา. สืบค้น 3 กรกฎาคม 2565, จาก https://elementary.kpru.ac.th/?page_id=301&lang=TH
ข้อมูลอื่น ๆ
คู่มือ PDPA สำหรับประชาชน "กฏหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล" สิ่งสำคัญใกล้ตัวที่คุณครู...ต้องรู้
เผยแพร่เมื่อ 29 มิถุนายน 2565
“การขยายผลกับนักศึกษาหลังจากเข้าร่วมอบรม Active Learning ต้องทำอย่างต่อเนื่องและนำไปใช้จริงที่โรงเรียนปลายทาง ในเบื้องต้นเร่ิมจากตามความถนัดของนักศึกษาและอาจารย์ร่วมติดตาม นิเทศก์การสอน” ดร.ยุทธนา พันธ์มี อาจารย์ประจำโปรแกรมวิชาการประถมศึกษา
เผยแพร่เมื่อ 15 มิถุนายน 2565
ผลงานวิจัยและบทความวิชาการ เรื่อง การศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนและเทคนิคการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อส่งเสริม การคิดเชิงระบบของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียนขนาดเล็ก
เผยแพร่เมื่อ 15 มิถุนายน 2565
ประกาศฯ การให้ทุนอุดหนุนงานวิจัยของคณะครุศาสตร์ เรื่อง "การพัฒนาคู่มือการอบรมการวิจัยในชั้นเรียนประยุกเทคใช้เทคนิค GPAS 5 Steps ของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน"
เผยแพร่เมื่อ 14 มิถุนายน 2565